วันอังคารที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2555

กิจกรรมที่ 4

https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEjVfFDMlkfz_ZE2o9lvqXaiHjBuoHmGWL_eAeCJ05j1mVnEJNbrZXH_D5w_F9xpvFjB1Zblo-f1u34-cV0oqpPNkQQoK8anybJ1V9uBK2-8M15_nj78jX45IrP_Ek55gI9sJNFti7voAVsg/s1600/AF2288E5-D57F-4291-AFD9-FA7A9A28E6AC.jpg


ให้นักศึกษาอ่านเนื้อหาแล้วตอบคำถาม

1.เหตุผลทำไมต้องประกาศพระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545
 
     กฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ ให้บิดา มารดาหรือผู้ปกครองมีหน้าที่จัดให้บุตรหรือบุคคลซึ่งอยู่ในความดูแลได้รับาการศึกษาภาคบังคับจำนวน 9 ปี โดยเด็กที่มีจำนวนอายุย่างก้าวปี่ที่ 7 เรียนในสถาบันขั้นพื้นฐานจนอายุย่างก้าวเข้าปีที่ 16 เว้นแต่จะสอบได้ชั้นปี่ที่ 9 ของการศึกษาภาคบังคับ จึงสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยการประถมศึกษา เพื่อให่เหมาะสมและสอดคล้องกับกฎหมายดังกล่าว

2.ท่านเข้าใจความหมายตามพระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545 อย่างไร

  ก. ผู้ปกครอง
            บิดา มารดา ซึ่งเป็นผู้ใช้อำนาจในการปกครองหรือผู้ปกครองตามกฎประมวลเพ่งและพาณิชย์ และหมายความรวมไปถึงเด็กที่อยู่ในความปกครอง อยู้ด้วยเป็นประจำหรือเด็กที่อยู่รับใช้การงาน
  ข.เด็ก
           เด็กซึ่งมีอายุย่างเข้าปีที่ 7 จนถึงอายุย่างเข้าปีที่ 16 เว้นแต่เด็กที่สอบได้ชั้นปีที่ 9  ของการศึกษาภาคบังคับแล้ว
   ค. การศึกษาภาคบังคับ
               ข้อ ๑ นักเรียนและนักศึกษาต้องไม่ประพฤติตน ดังต่อไปนี้
(๑) หนีเรียนหรือออกนอกสถานศึกษาโดยไม่ได้รับอนุญาตในช่วงเวลาเรียน
(๒) เล่นการพนัน จัดให้มีการเล่นการพนัน หรือมั่วสุมในวงการพนัน
(๓) พกพาอาวุธหรือวัตถุระเบิด
(๔) ซื้อ จำหน่าย แลกเปลี่ยน เสพสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ สิ่งมึนเมา บุหรี่ หรือ
ยาเสพติด
(๕) ลักทรัพย์ กรรโชกทรัพย์ ข่มขู่ หรือบังคับขืนใจเพื่อเอาทรัพย์บุคคลอื่น
(๖) ก่อเหตุทะเลาะวิวาท ทำร้ายร่างกายผู้อื่น เตรียมการหรือกระทำการใด ๆ อันน่าจะ
ก่อให้เกิดความไม่สงบเรียบร้อยหรือขัดต่อศีลธรรมอันดีของประชาชน
(๗) แสดงพฤติกรรมทางชู้สาวซึ่งไม่เหมาะสมในที่สาธารณะ
(๘) เกี่ยวข้องกับการค้าประเวณี
(๙) ออกนอกสถานที่พักเวลากลางคืน เพื่อเที่ยวเตร่หรือรวมกลุ่ม อันเป็นการสร้างความ
เดือดร้อนให้แก่ตนเองหรือผู้อื่น
          ข้อ ๒ ให้โรงเรียนหรือสถานศึกษากำหนดระเบียบว่าด้วยความประพฤติของนักเรียนและ
นักศึกษาได้เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับกฎกระทรวงนี้

  ง. องค์กรปกครองส่วนท้องุถิ่น
        องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การส่วนตำบล กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นที่ได้รับการจัดตั้งตามกฎหมาย หรือองค์กรส่วนท้องถิ่นที่มีสถานศึกษาในสังกัด

3.กรณี ผู้ปกครองไม่ส่งเข้าเรียนตามที่กฎหหมายฉบับนี้กำหนดจะต้องถูกลงโทษอย่างไร และถ้าเด็กไม่สามารถเข้ารับการศึกษาใครจะเป็นผู้มีอำนาจในการผ่อนผันเด็ก เข้าเรียน

          หากผู้ปกครองไม่ส่งเด็กเข้าเรียนตามกฎหมายฉบับนี้กำหนดจะต้องถูกลงโทษโดยปรับไม่เกิน 1000 บาทและหากปราศจากเหตุผล ปรับไม่เกิน 10000 บาท เนื่องจากทำให้เด็กขากการศึกษา แต่หากเมื่อผู้ปกครองมาร้องขอผ่อนผัน ให้สถานศึกษาเป็นผู้ผ่อนให้เด็กตามเกณฑ์อายุที่เรียนก่อน อายุตามเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับได้

4. ให้นักศึกษาสรุปประเด็นสำคัญที่ได้จากการอ่านพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรรวงศึกษาธิการ มีทั้งหมด 21 ข้อ
          
1.  กำหนดความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษา พ.ศ.2548
2. กำหนดจำนวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการสรรหา การเลือกประธาน
   3. กรรมการและกรรมการ วาระการดำรงตำแหน่ง และการพ้นจากตำแหน่งของ
   กรรมการในคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2546
4. กำหนดจำนวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการสรรหา การเลือกประธาน
   กรรมการและกรรมการ วาระการดำรงตำแหน่ง และการพ้นจากตำแหน่งของ
   คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ.2546
5. กำหนดจำนวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการสรรหา การเลือกประธานกรรม
   การและกรรมการ วาระการดำรงตำแหน่งและการพ้นจากตำแหน่งของคณะกรรมการ
   สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2546
6. กำหนดจำนวนหลักเกณฑ์และวิธีการได้มาของคณะกรรมการติดตามตรวจสอบ
   ประเมินผลและนิเทศการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา พ..ศ.2548
7. กำหนดจำนวนหลักเกณฑ์และวิธีการได้มาของคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาพิเศษ
   พ.ศ.2548 
8. กำหนดจำนวนหลักเกณฑ์และวิธีการได้มาของคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาสำหรับ
   บุคคลซึ่งมีความสามารถพิเศษ พ.ศ.2550
9.  กำหนดจำนวนหลักเกณฑ์และวิธีการได้มาของคณะกรรมการส่งเสริมสนับสนุนและ
   ประสานความร่วมมือการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.2548
10.  กำหนดจำนวนหลักเกณฑ์และวิธีการได้มาของคณะกรรมการติดตามตรวจสอบและ
   ประเมินผลการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2548
11. กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการนับอายุเด็กเพื่อเข้ารับการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ.2545
12.  กำหนดหลักเกณฑ์การแบ่งส่วนราชการภายในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
   พ.ศ.2546
13.  กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการจัดระบบงานและกิจกรรมในการ
   แนะแนว ให้คำปรึกษาและฝึกอบรมแก่นักเรียน นักศึกษาและผู้ปกครอง พ.ศ.2548
14. กำหนดหลักเกณฑ์การแบ่งส่วนราชการภายในสถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
   หรือส่วนราชการที่เรียกชื่อย่างอื่น พ.ศ.2547
15. กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา พ.ศ.2550
16. กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการจัดสรรงบประมาณทางการศึกษาสำหรับคนพิการ
   พ.ศ.2545
17. กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการให้คนพิการมีสิทธิได้รับสิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ บริการ
   และความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา พ.ศ.2550
18. กำหนดหลักเกณฑ์วิธีการและลักษณะของงานที่จะให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
   เป็นผู้รับผิดชอบปฏิบัติงานเฉพาะอย่างแทนสถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
   และส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น พ.ศ.2547
19. การกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีประเมินความพร้อมในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของ
   องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2547
20. การกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีประเมินความพร้อมในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของ
21.  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(ฉบับที่ 2)พ.ศ.2549
        
:: ว่าด้วยการจัดการศึกษาเฉพาะทาง พ.ศ.2547
:: ว่าด้วยการแบ่งระดับและการเทียบระดับการศึกษานอกระบบและการศึกษา
   ตามอัธยาศัย พ.ศ.2546
:: ว่าด้วยการแบ่งระดับและประเภทการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2546
:: ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
   ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2546
   พ.ศ.2547
:: ว่าด้วยสิทธิของบุคคลในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานในศูนย์การเรียน พ.ศ.2554
:: ว่าด้วยสิทธิขององค์กรวิชาชีพในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานในศูนย์การเรียน
   พ.ศ.2554
:: ว่าด้วยสิทธิในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยครอบครัว พ.ศ.2547
:: ว่าด้วยสิทธิในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยสถาบันพระพุทธศาสนา พ.ศ.2548
 



















ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น